ค้นหา

Tags

ปัญหาสีทาอาคาร (31)สีทาภายใน (27)เบเยอร์คูล (20)กิจกรรม (19) สีทาบ้านภายนอก (16)สิ่งแวดล้อม (13)รักษ์โลก (11)ไอเดียสี (11)ปัญหาบ้านหน้าฝน (10)สีทาเหล็ก (10)begercool (9)sustainability (9)โปรโมชั่น (9)ทาสีบ้าน (8)ทาสีบ้านใหม่ (8)รีโนเวทบ้านเก่า (8)ไอเดียแต่งบ้าน (8)ปัญหาสีซ่อมแซมตกแต่งพื้นผิว (7)สีรองพื้น (7)โลกร้อน (7)ซ่อมบ้าน (6)ปัญหาสีงานไม้ (6)สีงานไม้ (6)สีทาภายนอก (6)สีย้อมไม้ (6)color trends (5)คาร์บอน (5)สีทาหลังคา (5)สีทาไม้ (5)สีบ้านเย็น (5)สีห้องนอน (5)เฉดสียอดนิยม (5)น้ำท่วม (4)สีคาร์บอนต่ำ (4)สีทาบ้านภายนอก (4)สีทาบ้านภายใน (4)สีน้ำมัน (4)หลังคา (4)ห้องครัว (4)อุดโป๊ว (4)ฮวงจุ้ย (4)เชื้อรา (4)ไอเดียแต่งห้อง (4) สีทาภายใน (3)AeroTech (3)BegerReWithYou (3)กันซึม (3)กันรั่ว (3)ดูดวง (3)ตะไคร่น้ำ (3)ทาสีบ้านภายใน (3)ทาสีหน้าฝน (3)ผนังปูน (3)ยูรีเทนทาไม้ (3)ฤกษ์มงคล (3)สีทากันซึม (3)สีทาบ้าน (3)สีบ้านมงคล (3)สีสร้างลาย (3)สีห้องนั่งเล่น (3)สีอุตสาหกรรม (3)สีเบเยอร์ (3)สีเหลือง (3)อาคารเขียว (3)Begerpaint (2)begerxppg (2)beyours (2)ceramic cooling (2)color of the year (2)griptech2in1 (2)nordic (2)tile-bond (2)work from home (2)กาวยาแนวกระเบื้อง (2)คราบสนิม (2)ความชื้น (2)งานสถาปนิก (2)ซีลแลนท์ (2)ตรุษจีน (2)ทาสีบ้านตามฮวงจุ้ย (2)ทาสีบ้านเอง (2)ทาสีห้องนอน (2)บ้านลอฟท์ (2)บ้านสไตล์นอร์ดิก (2)ปัญหาคราบน้ำ (2)ฟิลม์สีลอกล่อน (2)ยูรีเทน 2K (2)รอยแตกร้าว (2)ร้านขายสีออนไลน์ (2)รีวิว (2)ลดหย่อนภาษี (2)สัญลักษณ์รักษ์โลก (2)สีทากันซึมดาดฟ้าหลังคา (2)สีทาเหล็ก 2 in 1 (2)สีทาเหล็กตระกูลเบเยอร์ (2)สีน้ำมันเคลือบเงาเหล็ก (2)สีนำโชค (2)สีผสม (2)สีมงคล (2)สีรองพื้นปูนเก่า (2)สีลอฟท์ (2)สีส้ม (2)สีห้องนอนตามวันเกิด (2)สีเย็น (2)สีแดง (2)อุดรอยรั่วทั่วทั้งบ้าน (2)เคมีภัณฑ์ก่อสร้าง (2)เฉดสีทาภายใน (2)เซรามิกคูลลิ่ง (2)เทรนด์สี 2022 (2)แต่งห้องนอน (2)แอโรเทค (2) สีทาไม้ (1) เชื้อรา (1)60-30-10 (1)activity (1)art effect (1)bangkok design week (1)Bangpo wood street (1)beger-hdc (1)begerclub (1)begercoin (1)carbon (1)carbonfootprint (1)color design (1)color trends 2022 (1)easy e-receipt (1)facebook (1)Gold Ion (1)Heat index (1)lgbtq (1)Natural (1)ozone (1)pride month (1)renovate (1)review (1)sealant (1)super gold (1)super pearl (1)super white (1)VOCs (1)y2k (1)กลิ่นอับ (1)กันร้อน (1)การนอนหลับ (1)กาวซีเมนต์ (1)กาวพียู (1)กาวยาแนว (1)กิจกรรมวันแม่ (1)คราบสนิมบนพื้นผิวโลหะ (1)คราบเกลือ (1)ความหมายสี (1)คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (1)คำนวณงบสีทาบ (1)คำนวนสีทาบ้าน (1)งบทาสีบ้าน (1)งานสถาปนิก66 (1)งานไม้แนวตั้ง (1)จิตใจ (1)จีน (1)ด่างปูน (1)ดาดฟ้ารั่ว (1)ทาสีบ้านภายนอก (1)ทาสีฝ้า (1)ทาสีเหล็ก (1)ทาสีโครงหลังคา (1)ทาห้องสีชมพู (1)ทินเนอร์ (1)ธงสีรุ้ง (1)ธาตุเกิด (1)ธาตุไฟ (1)นอนไม่หลับ (1)นอร์ดิก (1)นัว (1)น้ำปูนลอยหน้า (1)บางโพ (1)บ้านสีขาว (1)บ้านสีควันบุหรี่ (1)บ้านสีดำ (1)บ้านอับชื้น (1)บาร์บี้ (1)ปลวก (1)ป้องกันคราบสนิม (1)ปัญหา (1)ปัญหางานไม้ (1)ปัญหาสีทองคำ (1)ปัญหาสีหน้าฝน (1)ปีชง (1)ปูนกาวเบเยอร์ (1)ผนังไม้ (1)ผลิตภัณฑ์กำจักปลวก (1)ผิวปูนแห้ง (1)ฝาท่อเยาวราช (1)พลังสี (1)พาสเทล (1)พื้นเหนียว (1)พื้นไม้รอบสระน้ำ (1)ฟิล์มสีติดกัน (1)ฟิล์มสีบวมพอง (1)ฟิล์มสีเป็นเม็ด (1)ฟิล์มสีไม่ยึดเกาะ (1)ฟิล์มแตกเร็ว (1)ภาษีคาร์บอน (1)มูจิ (1)มูเตลู (1)ยางไม้ซึม (1)ยาแนว (1)ยูนีเทน (1)ยูนีเทน 2K (1)ยูรีเทน 1K (1)รหัสสีเบเยอร์ (1)รองพื้นกันสนิม (1)ร้อนอบอ้าว (1)รอยแตก (1)รักษโลก (1)รักโลก (1)รับเหมาทาสี (1)รั้วเหล็ก (1)รางวัล (1)รูตะปู (1)วอลเปเปอร์ (1)วันสืบนาคะเสถียร (1)วาเลนไทน์ (1)วิธีแก้กลิ่นอับ (1)สดใส (1)สายมู (1)สีmbti (1)สีกันซึม (1)สีขายดี (1)สีขาวควันบุหรี่ (1)สีตกแต่งพิเศษ (1)สีต่าง (1)สีถูกโฉลก (1)สีทองคำ (1)สีทองคำด (1)สีทองคำลอกล่อน (1)สีทาบ้านกันร้อน (1)สีทาบ้านที่ขาวที่สุด (1)สีทาบ้านหมดอายุ (1)สีทาหลังคากันร้อน (1)สีทาหลังคาอเนกประสงค์ (1)สีทาโครงหลังคา (1)สีทาไฟเบอร์ซีเมนต์ (1)สีทาไม้เทียม (1)สีธรรมชาติ (1)สีน้ำเงิน (1)สีบ้านถูกโฉลก (1)สีบ้านสไตล์นอร์ดิก (1)สีบ้านโทนเย็น (1)สีฝุ่นชอล์ก (1)สีพาสเทล (1)สีฟ้า (1)สียอดนิยม (1)สีรองพื้นปูนอเนกประสงค์ (1)สีรองพื้นปูนใหม่ (1)สีลอกล่อน (1)สีวันแม่ (1)สีสงกรานต์ (1)สีสด (1)สีสร้างสมาธิ (1)สีหมดอายุ (1)สีห้อง (1)สีห้องนอนโทนร้อน (1)สีห้องนอนโทนเย็น (1)สีห้องยอดนิยม (1)สีห้องวัยรุ่น (1)สีห้องเด็ก (1)สีห้องโทนเย็น (1)สีเข้ม (1)สีเคลือบเงาเหล็ก (1)สีเบส (1)สีเบอร์ (1)สีเบเยอร์คูล (1)สีเป็นผง (1)สีเป็นฝุ่น (1)สีแห่งปี (1)สีโทนเย็น (1)สีโป๊ว (1)สเปรย์น้ำมันอเนกประสงค์ (1)สเปรย์หล่อลื่น (1)หน้าฝน (1)หลับยาก (1)หวานๆ (1)ห้องกว้าง (1)ห้องทำงาน (1)ห้องนอน (1)ห้องนอนลอฟท์ (1)ห้องนั่งเล่น (1)ห้องสีขาว (1)ห้องสีควันบุหรี่ (1)ห้องสีชมพู (1)ห้องสีชมพูพาสเทล (1)ห้องสีแดง (1)ห้องใต้หลังคา (1)หินอ่อน (1)อารมณ์ (1)อีซี่คลีนแอนด์แคร์ (1)ฮาโลวีน (1)เจอคูลบอกที (1)เชื้อราบนไม้ (1)เต่าคูล (1)เทคนิคทาสี (1)เบเยอร์ ซูพรีม (1)เบเยอร์ วัน (1)เบเยอร์ชิลด์ (1)เฟอร์ไม้ฉ่ำรับสงกรานต์ (1)เย็นจริงทนจังในถังเดียว (1)เย็นเถิดชาวไทย (1)เย็นเถิดชาวไทยใช้สีเบเยอร์คูล (1)เหนียว (1)เหม็นอับ (1)เหล็กกัลวาไนซ์ (1)แก้ชง (1)แต่งห้อง (1)แต่งห้องนั่งเล่น (1)แถม (1)แม่และเด็ก (1)แลคเกอร์ (1)แสง (1)โกลด์ ไอออน (1)โควิด (1)โชคลาภ (1)โถงทางเดิน (1)โทนเย็น (1)โปรแกรมคำนวณคาร์บอน (1)โรคหน้าฝน (1)โลกเดือด (1)โหราศาสตร์ (1)โอ๊ต ปราโมทย์ (1)โอโซน (1)ไทล์บอนด์ (1)ไม้สน (1)ไม้เนื้ออ่อน (1)

รวมสาเหตุและวิธีแก้ปัญหาร้อนอบอ้าวก่อนฝนตกง่าย ๆ แต่ได้ผล

ทำไมร้อนอบอ้าวก่อนฝนตก

เคยสังเกตกันไหมว่าก่อนฝนตกทีไรเราจะรู้สึกร้อนอบอ้าวทุกที เนื้อตัวก็เหนียว อึดอัด ครั่นตัวไปหมด ปัญหานี้อธิบายง่าย ๆ ได้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังมีวิธีแก้ไขและป้องกันอากาศร้อนอบอ้าวในช่วงหน้าฝนที่ทุกคนทำได้ง่ายเพียงปลายนิ้วด้วย ไปดูกันเลย! 

 

ทำไมก่อนฝนตกถึงร้อนอบอ้าว?

อากาศร้อนอบอ้าวก่อนฝนตกเป็นหนึ่งในปัญหาหน้าฝนที่ทุกบ้านเจอแน่นอน แม้จะดูไม่ส่งผลกระทบต่อบ้านหนักเท่าปัญหาบ้านรั่ว ร้าว รา แต่ความรู้สึกร้อนที่มาพร้อมความอึดอัดตัวก็ทำให้เจ้าของบ้านทรมานได้ทั้งกายใจ ซึ่งสาเหตุที่ว่าทำไมก่อนฝนตกถึงร้อนอบอ้าวเกิดจาก 2 ปัจจัยด้วยกัน คือ ความชื้น และความร้อน ดังนี้
 

1. ความชื้น

เมฆฝนที่มารวมตัวกันส่งผลให้ปริมาณไอน้ำในอากาศเพิ่มมากขึ้น ความชื้นในอากาศจึงเพิ่มสูงตามไปด้วย โดยเรียกกันว่า “ความชื้นสัมพัทธ์สูง” ความหมายของมันคือ อากาศมีพื้นที่เพียงพอต่อการรองรับไอน้ำได้อีกไม่มาก ทำให้น้ำระเหยเป็นไอน้ำได้ยากขึ้น เหงื่อที่จะถูกระบายออกตามกระบวนการคายร้อนของร่างกายจึงระเหยออกมาได้ยากเช่นกัน เมื่อความร้อนไม่ถูกระบายออกก็จะสะสมอยู่ในตัวเรา เป็นที่มาของความรู้สึกร้อนอบอ้าว อึดอัด เหนียวตัว ครั่นเนื้อตัว แม้อุณหภูมิจริงจะเท่าเดิมก็ตาม

2. ความร้อน

ตามกระบวนการเกิดฝน ก่อนที่เมฆจะกลั่นตัวเป็นเม็ดฝน จะต้องคายความร้อนออกมา ซึ่งความร้อนนี้เองที่จะสะสมอยู่ระหว่างเมฆและพื้นดิน ส่งผลให้ตัวบ้านและบรรยากาศรอบตัวเรามีอุณหภูมิสูงขึ้น ทำให้เราตอนอยู่ในบ้านรู้สึกอบอ้าวราวกับอาหารในเตาอบนั่นเอง

 

ความชื้นสูง vs ความชื้นต่ำ

 

วิธีแก้ร้อนอบอ้าวก่อนฝนตกมีอะไรบ้าง?

วิธีแก้และป้องกันร้อนอบอ้าวก่อนฝนตกจะเน้นไปที่การลดความร้อนหรือลดอุณหภูมิให้ได้มากที่สุด ทั้งลดอุณหภูมิร่างกายเราและอุณหภูมิบ้านเรา โดยสามารถทำตามได้หลายวิธีด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น

  • สวมเสื้อผ้าบาง เบาสบาย ไม่รัดแน่น ช่วยระบายเหงื่อจากร่างกายได้ดีขึ้น
  • อาบน้ำเย็น ดื่มน้ำเย็น ทานอาหารฤทธิ์เย็น วิธีนี้ช่วยลดอุณหภูมิร่างกาย ทำให้เราเย็นจากภายใน 
  • เปิดห้อง เปิดพัดลมไล่อากาศ นอกจากจะช่วยดูดอากาศจากภายในห้องออกไปยังนอกห้องแล้ว ยังระบายอากาศให้ไหลเวียนและถ่ายเทได้ดีขึ้นด้วย 
  • เปิดแอร์ การทำงานของแอร์จะมีโหมด Dry ที่เป็นสัญลักษณ์รูปหยดน้ำ ช่วยปรับอุณหภูมิภายในห้องและลดความชื้นไปในตัว แต่ความเย็นที่ได้อาจจะไม่เท่าโหมดปกติ และโหมดนี้อาจทำให้อากาศแห้งได้ 
  • ทาสีบ้านเย็น ลดอุณหภูมิสูงสุด 6 องศาเซลเซียส อย่าง BegerCool DiamondShield 15 ด้วย 3 คุณสมบัติพิเศษ ได้แก่ กันร้อน สะท้อน ทนทาน จากสุดยอดนวัตกรรม เซรามิกคูลลิ่ง (Ceramic Cooling) และเทคโนโลยีพันธะเพชร (Diamond Bond) เสริมให้บ้านเย็นยาวนาน เมื่ออุณหภูมิบ้านลดต่ำลง อุณหภูมิรอบตัวเราก็จะต่ำตาม จึงรู้สึกเย็นสบายตัวแม้ไม่เปิดแอร์ หมดปัญหาร้อนอบอ้าวในช่วงหน้าฝนได้เป็นอย่างดี 

 

สีบ้านเย็น เบเยอร์คูล

 

เพื่อประสิทธิภาพการป้องกันปัญหาร้อนอบอ้าวก่อนฝนตกหรือลดอุณหภูมิอย่างเต็มขั้นในทุกช่วงฤดู เมื่อทาสีทับหน้ากันร้อนแล้วก็อย่าลืมทาสีกันร้อนประเภทอื่น ๆ ให้เต็มระบบ จะได้เสริมคุณสมบัติกันร้อน สะท้อน และทนทานขั้นสุดไปเลย เช่น สีทากันซึมดาดฟ้าอย่าง Beger RoofSeal Cool สีทาหลังคาอย่าง BegerCool Roof หรือสีรองพื้นอย่าง Beger Flexi Cool Primer B-2800 กรณีที่มีข้อสงสัยในการใช้งานสีเบเยอร์ในระบบสีกันร้อน หรือมีแผนสร้างบ้าน รีโนเวทบ้าน แต่ยังไม่แน่ใจว่าควรใช้สีตัวไหน เฉดไหนดี ถึงจะลดร้อนได้สูงสุด ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญของเราโดยตรงที่ Line: @begerpaint ในวันและเวลาทำการ

SHARE :